[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
โรงเรียนถ่อนวิทยา
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
เมนูหลัก
link banner
e-Learning

Link Banner














ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 28 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ค้นหาจาก google


  

   เว็บบอร์ด >> ห้องนั่งเล่น >>
Smart grid ตอนที่ 1  VIEW : 1122    
โดย พพ

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 37
ตอบแล้ว : 1
เพศ :
ระดับ : 4
Exp : 100%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 178.128.118.xxx

 
เมื่อ : เสาร์์ ที่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ.2562 เวลา 07:57:24    ปักหมุดและแบ่งปัน

โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ในอดีต ระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Electrical Power System) นอกจากแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะข้างต้น โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ยังรวมไปถึงระบบไฟฟ้าอัจฉริยะที่จะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า โครงข่าย เราคงเคยได้อ่าน
ไฟฟ้าโรงไฟฟ้าเสมือน (Virtual Power Plant, VPP) เป็นการจัดการกลุ่มแหล่งจ่ายพลังงานขนาดเล็กด้วยเทคโนโลยีควบคุม สั่งการระยะไกลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจ่ายไฟจากกลุ่มแหล่งจ่ายไฟข้างต้นเข้าโครงข่ายไฟฟ้าเสมือนหนึ่งจ่าย จากอัจฉริยะตามข่าว ต่างๆ
เกี่ยวกับปัญหาหรือเช่น ตัวเก็บประจุไฟฟ้าชนิดอัลตร้า (Ultra capacitor), วง ล้อFlywheel, และ แบตเตอรี่ เป็นต้นฟังตามสื่อการขาดแ เพราะมนุษย์ยังคลนพลังงานไม่สามารถบริโภคของตน หาวิธีการลดการ เองได้ จึงต้องพึ่งพาการเลือกใหม่ๆ อย่างพลังสรรหาพลังงานทาง
งานลม พลังงานแสงอาทิตย์ แต่นอกเหนือไป จากการเพิ่มปริมาณพลังงานไว้สำหรับผู้บริโภคแล้ว สิ่งที่กลายมาเป็นหัวใจหลักในการช่วยปัญหาการขาดแคลนพลังงานในระยะยาวนั้นคือการจัดการด้านพลังงานนั้นเอง และเชื่อว่า “โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ” หรือ Smart grid
ก็กลายมาเป็นทางออกหนึ่งในการช่วยเรื่องการจัดการด้านพลังงานที่ได้รับความสนใจ เป็นอย่างมา ซึ่งสังเกตได้จาก เราคงเคยได้ยินคำว่า เทคโนโลยี Smart grid กันบ่อยๆนั้นเอง แต่ Smart grid หรือ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ นี้หมายถึงเทคโนโลยีแบบใด มีเป็นรูปธรรมแล้ว
หรือไม่ และก็เกิดประโยชน์ด้านใดบ้าง? ในบทความนี้เราจะนำผู้อ่านไปเข้าใจความหมายที่เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้นของ ของ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ความเป็นมา ในอดีตระบบไฟฟ้า จะใช้กระบวนการผลิต ไฟฟ้าแบบรวมศูนย์ ( Centralize Power Generation ) โดยมีโรงผลิต
ไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่ใช้พลังงานดั้งเดิม (Conventional Energy) ในการจ่ายไฟฟ้าให้กับทั้งโครงข่าย หลังจากนั้น เมื่อมนุษย์มีการบริโภคไฟฟ้ามากขึ้น ก็ถูก เปลี่ยนไปเป็นระบบโครงข่ายไฟฟ้าที่มีการผลิตแบบการกระจาย (Distributed Power Generation) โดยมีทั้งโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก และโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ ทั้งที่ในพลังงานดั้งเดิมในกาผลิต และทั้งที่ใช้
พลังงานทดแทน (Renewable Energy) กระจายอยู่ทั่วโครงข่าย เพื่อให้ไฟฟ้าสามารถเข้าถึงผู้บริโภค ได้มากยิ่งขึ้น แต่เมื่อโรงไฟฟ้ามีจำนวนมากยิ่งขึ้นๆ ดั่งที่เห็นในเช่นทุกวันนี้ ความซับซ้อนในการควบคุมโครงข่ายจึงมากขึ้นด้วยเช่นกัน จึงได้บังเกิดแนวคิดพัฒนาระบบ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาช่วยบริหารจัดการ
กระบวนการผลิต ควบคุมการผลิต และส่งจ่าย ไฟฟ้า ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อะไรคือความหมายที่แท้ของ Smart grid นิยามของโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะนั้น ไม่ได้ถูกนิยามไว้อย่างชัดเจน โดยมีการตีความแตกต่างกันขึ้นกับหน่วยงานที่นำไปปฏิบัติ โดยสำหรับ
ประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA Smart grid)ได้ให้นิยามของระบบโครงข่าย อัจฉริยะว่า โครงข่ายไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารมาบริหารจัดการควบคุม การผลิต ส่ง และจ่ายพลังงานไฟฟ้า สามารถรองรับการเชื่อมต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทางเลือกที่สะอาด ที่กระจายอยู่ทั่วไปและระบบบริหารการใช้สินทรัพย์ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด รวมทั้งให้บริการกับผู้ เชื่อมต่อกับโครงข่ายผ่านมิเตอร์อัจฉริยะได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีความมั่นคง ปลอดภัย เชื่อถือได้ มีคุณภาพไฟฟ้าได้มาตรฐานสากล ตามความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้าในศตวรรษที่ 21 ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบพลังงานของ
ประเทศ คุณภาพชีวิตประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้า รวมทั้งชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยความอัจฉริยะของระบบนี้ เกิดจากการเชื่อมโยงระบบไฟฟ้า ระบบสารสนเทศ ระบบสื่อสาร เข้าไว้เป็นโครงข่ายเดียวกัน ซึ่งโครงข่ายดังกล่าวจะสนับสนุนการทำงานซึ่งกันและกันอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสำคัญ 3 ด้าน ได้แก่ 1. อิเล็กทรอนิกส์และ
ระบบฝังตัว (Electronics and Embedded Systems) 2. ระบบควบคุมอัตโนมัติ (System Control and Automation) 3. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) “PEA SMART GRID for Smart Energy , Smart Life and Smart Community” Smart Energy หมายถึงการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าเพื่อการใช้ อย่าง ชาญ
ฉลาด ไม่ว่าจะเป็นในแง่ของการผลิต และส่งจ่ายพลังงานสู่ผู้ใช้ไฟฟ้า (Supply side) รวมทั้งด้านของผู้ใช้ไฟฟ้า (Demand side) แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Electrical Energy Supply/Source) พลังงานทดแทน (Renewable Energy) เช่น
พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวภาพ ชีว มวล พลังน้ำขนาดเล็กเป็นต้น แหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก เช่น เซลล์แสงอาทิตย์ขนาดเล็ก ติดตั้งบนหลังคาเรือน (Rooftop Photo Voltaic ) กังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (Small Wind Turbine)เป็นต้น แหล่งกักเก็บพลังงาน
(Energy Storage)


รวบรวมเนื้อหาโดย UFA369 เว็บเกมส์ UFABET อันดับ 1 ของไทย

สมัคร แทงบอลออนไลน์ และ คาสิโนออนไลน์ ที่ดีที่สุด



โดย ลล
UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 136
ตอบแล้ว : 2
ระดับ : 1
Exp : 100%
IP : 178.128.117.xxx

 
ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 28 ก.ย. 2562 : 19:12

เมื่อเวลาเปลี่ยนไปวัตถุเปลี่ยนแปลงตำแหน่งวัตถุนั้นจะมีการเคลื่อนที่ ในชีวิตประจำวันเราพบเห็นสิ่งต่าง ๆ เคลื่อนที่มากมาย เช่น รถยนต์แล่นไปมา วัตถุตกหรือกลิ้ง นกหรือแมลงบิน ลมพัด น้ำไหล จิ้งจกหรือตุ๊กแกไต่ตามผนังหรือเพดาน โลกหมุนรอบตัวเองและหมุน
รอบดวง อาทิตย์ การเคลื่อนที่ของดวงดาวและดาราจักร (Galaxy) ต่าง ๆ ในเอกภพ หรือแม้แต่ตัวเราเองที่ต้องเดินหรือใช้ยานพาหนะเพื่อเดินทางเพื่อการดำรงชีวิต การเคลื่อนที่จึงมีความสำคัญต่อสิ่งต่าง ๆ ในเอกภพนี้มาก ในบทนี้เราจะศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุโดย
ไม่คำนึงถึงสาเหตุที่ทำให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ ซึ่งเราเรียกว่า “จลน์ศาสตร์ (Kinematics)” ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของฟิสิกส์ที่สำคัญ


รวบรวมเนื้อหาโดย UFA369 เว็บเกมส์ UFABET อันดับ 1 ของไทย

สมัคร แทงบอลออนไลน์ และ คาสิโนออนไลน์ ที่ดีที่สุด

      
1